ยาที่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูง (Hyperglycemia)

กลุ่มยา

ยาที่มีรายงานการเกิดปัญหา

ยาที่ไม่ค่อยพบปัญหา/ความเสี่ยงต่ำ

สาเหตุ/กลไกหลัก

กลไกรอง/อื่นๆ ที่เป็นไปได้

การป้องกัน/แก้ไข

Thiazide Diuretics

Chlorthalidone

N/A

– เพิ่มการขับออกของ Potassium ในปัสสาวะ ทำให้ระดับของ Potassium ในเลือดลดต่ำลง เป็นเหตุให้ลดการหลั่ง Insulin (มีการศึกษาว่าการลดลงของ Potassium ในเลือดครั้งละ 0.5 mEq/L มีโอกาสเกิด new diabetes ได้ 45%)– เพิ่มระดับกรดไขมันอิสระ ทำให้เกิด insulin sensitivity ลดลง

– เพิ่มการสร้าง glucose ที่ตับ/เพิ่มการหลั่งและ/หรือเพิ่มฤทธิ์ของ catecholmine

– เริ่มต้นใช้ยาด้วยขนาดต่ำ

– เสริม potassium หรือให้คู่กับยากลุ่ม potassium-sparing

– หยุดยา

Beta blockersพวก non-selective for B1-subtype (เช่น Propanolol, Nadolol) มีโอกาสเกิด new diabetes 22%– พวก beta-blockers ที่มีฤทธิ์ sympathomimetic activity เช่น betalol, pindolol หรือมีฤทธิ์ alpha-blocking

– nebivolol ไม่เคยม รายงานการเกิด hyperglycemia หรือ new diabetes

– ยับยั้ง beta-2-adrenergic ที่มีผลในการหลั่ง insulin

– ลด insulin sensitivity

– เพิ่มการสลาย glycogen ที่กล้ามเนื้อ

– เพิ่ม TG ลด HDL-C

– ใช้ low-dose ร่วมกับยากลุ่มอื่น โดยเฉพาะ CCB

– คุมน้ำหนัก, ปรับพฤติกรรม

Antineoplastic Agents– สูตร L-asparaginase

– Androgen-deprivation therapy (ADT) ได้แก่ flutamide, bicalutamide, enzalutamide

– Docetaxel

– Decitabine, bortezomib, temzolomibe และ vorinostat

-Cyclophosphamide

N/A

– asparaginase ทำให้การหลั่งของ pancreatic beta-cell ผิดปกติ >>> ระดับ insulin ในเลือดลดลง

– cyclophosphamide ทำให้เกิดเบาหวาน type 1 จากการเกิด antibody ต่อ pancreatic islet cells

N/A

– หยุดยาที่เป็นสาเหตุแล้วรักษาด้วย insulin

– ปรับการทานอาหาร

ImmunosuppressantsCalcinurin inhibitors (CNIs) ได้แก่ cyclosporine, sirolimus และ tacrolimus

N/A

– ลดการหลั่ง insulin ที่เกิดจากยา

– เป็นพิษต่อ pancreatic beta-cell

N/A

N/A

AntipsychoticsSecond-generation antipsychotics (SGAs) เช่น Olanzapine, clozapineZiprasidone, aripiprazoleรบกวนการเมตาบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต, ทำให้เกิด insulin resistance

N/A

– แนะนำคัดกรองเบาหวานทุก ๆ 6 เดือน

– ตรวจค่าพื้นฐานของน้ำตาลในเลือดก่อนการเริ่มการรักษาด้วยยากลุ่ม SGAs

Glucocorticoidsทุกตัวในกลุ่ม Glucocorticoids

N/A

– กระตุ้นการสร้างกลูโคสในตับ

– ยับยั้งการ เก็บ glucose ของ peripheral muscle และเนื้อเยื่อไขมันส่งผลให้เกิด insulin resistance

ลดจำนวน beta cell ที่ตับอ่อน– ใช้ยากลุ่มนี้เป็นเวลานานควรตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอ

– ใช้ยาลดระดับน้ำตาลในเลือดที่มีคุณสมบัติกระตุ้นการหลั่งอินซูลิน (Insulin sensitizer) เป็นหลัก

– ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

Protease inhibitorsritonavir, indinavir, nelfinavir, lopinavir, saquinavirAtazanavir– เกิดการต้านอินซูลินส่วนปลายในกล้ามเนื้อและเนื้อเยื่อไขมัน

– ยับยั้ง GLUT4 ได้อย่างจำเพาะ

N/A

– วัดระดับน้ำตาลของผู้ป่วยก่อนที่จะได้รับยากลุ่ม PIs

– ตรวจติดตามทุกๆ 3-4 เดือน ในระหว่างปีแรกที่รักษา

Antibacterialagents– ยากลุ่ม fluoroquinolone โดยเฉพาะ gatifloxacin

N/A

– จับกับ glucose transporter type (GLUT) ซึ่งเป็นโปรตีนที่คอยตอบสนองต่อการขนส่งน้ำตาลเข้าสู่ระบบประสาทและเนื้อเยื่อส่วนปลาย

N/A

– ติดตามระดับน้ำตาลอย่างใกล้ชิดในผู้ป่วยเบาหวาน หากมีอาการของน้ำตาลสูง ควรหยุดยา

Fluoroquinolones

– หลีกเลี่ยงการใช้ gatifloxacin ในผู้ป่วยเบาหวาน

Nicotinic acidNicotinic acid/Niacin

N/A

– ทำให้ดื้อต่ออินซูลินเมื่อใช้ในขนาดสูง (ขึ้นกับ dose ที่ใช้)

– ลดการหลั่งอินซูลินอย่างมีนัยสำคัญ

โดย Niacin ทำให้การทำงานของ pancreatic islet แย่ลง ผ่าน ROS-PPARγ-UCP2 pathways

N/A

N/A

HMG-CoA reductase inhibitors (Statins)Statin เช่น atorvastatin

N/A

– ยับยั้งการสังเคราะห์ไอโซพรีนอยด์และการลดการสร้าง C/EBPα ซึ่งการสังเคราะห์ไอโซพรีนอยด์ที่ลดลงสามารถ

ลดการแสดงออกของ GLUT4 ในเซลล์ adipocyte ได้

– ยับยั้ง phosphorylation

– รบกวนการทำงานของการส่งสัญญาณภายในเซลล์ของอินซูลิน

– ลดการทำงานขอ GTPase

– ลด peroxisome proliferator

– การเพิ่มจำนวนของเซลล์และการหลั่งอินซูลินโดยยับยั้ง leptins

– สำหรับผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจหลอดเลือด statin จะช่วยป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจได้มากกว่าเกิดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคเบาหวาน 8 เท่า ดังนั้นจึงไม่ใช่ปัญหาสำคัญ

– ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดต่ำควรใช้ยากลุ่ม statin อย่างระมัดระวัง ควรใช้ pravastatin มากกว่ายา statin อื่น

สรุปข้อมูลจาก บทความ Drugs induced hyperglycemia จากวารสารสมาคมเภสัชกรรมชุมชน ปีที่ 18 ฉบับที่ 104 เดือนพฤษภาคม 2562 โดย ภญ.รุ้งนภา เต็งไตรสรณ์


Share this:

จบการศึกษาเภสัชศาสตรบัณฑิต จากมหาวิทยาลัยขอนแก่น ทำงานในแวดวงอุตสาหกรรมยามานานกว่า 10 ปี เชี่ยวชาญด้าน QC/QA นอกจากนี้ยังมีประสบการณ์ทางด้านร้านยา เคยเปิดร้านยาของตนเอง หากมีเวลาว่างมักไป part time ร้านยาต่างๆ และเคยดูแลร้านยาให้กับเจ้าของบริษัทที่ทำงาน ชื่นชอบการทำเว็บไซต์ สนใจด้าน Internet Marketing และเทคโนโลยี ทำเว็บไซต์ และ SEO เป็นงานอดิเรก ดูเพิ่มเติม